โฉมนี้ ปัจจุบันกำลังอยู่ในการเตรียมตัวเพื่อเข้าแทนที่โฉมที่ 8 ในหลายประเทศ ซึ่งเดิมทีนั้น ทางฮอนด้าวางแผนจะเปิดตัวตามประเทศต่างๆ ในช่วงครึ่งปีหลังของปี 2011 แต่ด้วยวิกฤตแผ่นดินไหวและสึนามิในประเทศญี่ปุ่น ทำให้โรงงานผลิตชิ้นส่วนได้รับความเสียหาย จึงต้องเลื่อนไปก่อน ซีวิคโฉมนี้โดน consumer report ในอเมริกา วิจารณ์ ว่าแย่ เนื่องจากใช้วัสดุที่ไม่ค่อยดีและการใส่ออพชั่นที่น้อย
โฉมนี้ มีตัวถัง 2 แบบ คือแบบคูเป้ 2 ประตู ซีดาน 4 ประตู และแฮทช์แบค 5 ประตู โดยในประเทศไทยนั้นทางฮอนด้าจะจำหน่ายเฉพาะแบบซีดาน 4 ประตู มีเครื่องยนต์ให้เลือก 7 ขนาด คือ 1.4, 1.5, 1.8, 2.0, 2.2 และ 2.4 ลิตร โดยในประเทศไทยจะมีจำหน่ายเฉพาะรุ่น 1.8 เกียร์ธรรมดาและเกียร์อัตโนมัติ 5 สปีด และ 2.0 ลิตร เกียร์อัตโนมัติ 5 สปีด เท่านั้น สำหรับประเทศไทย เลื่อนการเปิดตัวออกไปอย่างไม่มีกำหนด จากเดิมจะทำการเปิดตัวต่อสาธารณชนใน งานมหกรรมยานยนต์ ครั้งที่ 28 (Thailand International Motor Expo 2011) เนื่องจากมหาอุทกภัยในประเทศไทย 2011 จนถึงเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2012 ฮอนด้า ซีวิค โฉมนี้ ก็ได้เปิดตัวที่ Royal Paragon Halls แต่อย่างไรก็ตาม จะไม่มีการทำตลาดซีวิคโฉมนี้ในประเทศญี่ปุ่น เนื่องจากยอดขายของซีวิครุ่นที่ 8 ตกต่ำลงอย่างมากในช่วงปลายอายุตลาดมาก รวมทั้งเวอร์ชันไฮบริดด้วยเช่นกัน และในประเทศสหรัฐอเมริกามีกระแสวิพากษ์วิจารณ์ซีวิครุ่นนี้ในแง่ลบ ทำให้ต้องมีการ Minorchange ขึ้นในอเมริกา
และเมื่อ 15 กุมภาพันธ์ 2013 ก็ได้เปิดตัวรุ่น Hybrid ในประเทศไทยซึ่งใช้ระบบไฮบริดIMA Intergrated hybrid motor ซึ่งทำให้ประหยัดน้ำมันมาก และฮอนด้าซีวิค สามารถใช้พลังงานทดแทนพิเศษ แก๊สโซฮอล์ E85 ได้อีกด้วย ปลายเดือนตุลาคม 2013 ทางฮอนด้าก็ได้ผลิตรุ่น Modulo ขึ้นโดยนำรุ่น 1.8E มาตกแต่งด้วยชุดแต่งเฉพาะตัวของ modulo เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2014 ฮอนด้า ซีวิค ได้ทำการปรับปรุงกระจังหน้าและเพิ่มรุ่นพิเศษคือรุ่น 1.8ES ซึ่งมีสเกิร์ตรอบคันและรุ่น 2.0ES ที่มีสเกิร์ตรอบคันเช่นกัน ได้ปรับปรุงให้มีระบบสตาร์ทอัจฉริยะตั้งแต่รุ่น 1.8E ขึ้นไปในช่วงครึ่งแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 20 ประเทศสเปนก็ยังไม่อยู่ในความสงบเท่าใดนัก ชาวสเปนบางคนพยายามจะจัดตั้งรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งของประชาชน (ระบอบประชาธิปไตยแบบสาธารณรัฐ) และผลักดันให้กษัตริย์ออกไปจากประเทศ อย่างไรก็ตามในปี ค.ศ. 1936 (พ.ศ. 2479) ความขัดแย้งระหว่างชาวสเปนกลุ่มที่นิยมประชาธิปไตยกับชาวสเปนที่นิยมเผด็จการได้ก่อให้เกิดสงครามกลางเมืองสเปนขึ้น จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1939 (พ.ศ. 2482) ฝ่ายนิยมประชาธิปไตยพ่ายแพ้ และผู้นำเผด็จการที่มีชื่อว่า ฟรันซิสโก ฟรังโก ก็ได้เข้ามามีอำนาจในรัฐบาล
หลังจากจอมพลฟรังโกถึงแก่อสัญกรรมในปี ค.ศ. 1975 (พ.ศ. 2518) เจ้าชายฆวน การ์โลส (Prince Juan Carlos) ผู้เป็นพระราชนัดดาของกษัตริย์สเปนที่ถูกผลักดันให้ออกจากประเทศ ทรงขึ้นครองราชย์เป็นกษัตริย์แห่งสเปน จากการรับรองรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสเปน ปี ค.ศ. 1978 การเข้ามาของระบอบประชาธิปไตยได้ทำให้แคว้นบางแห่ง ได้แก่ ประเทศบาสก์และนาวาร์ ได้รับอัตตาณัติ (ความเป็นอิสระ) ทางการเงินอย่างสมบูรณ์ และแคว้นหลายแห่ง ได้แก่ บาสก์ กาตาลุญญา กาลิเซีย และอันดาลูซิอาก็ได้รับสิทธิในการปกครองตนเอง ซึ่งต่อมาก็ได้ขยายไปสู่แคว้นอื่น ๆ ในสเปนเช่นกัน ทำให้สเปนกลายเป็นเป็นประเทศที่มีการกระจายอำนาจทางการปกครองมากที่สุดในยุโรปตะวันตก แต่ในแคว้นประเทศบาสก์ยังคงมีลัทธิชาตินิยมหัวรุนแรงซึ่งสนับสนุนกลุ่มผู้ก่อการร้ายขององค์การเพื่อมาตุภูมิและอิสรภาพบาสก์หรือ “เอตา” (ETA) ซึ่งก่อตั้งในปี ค.ศ. 1959 ให้ก่อวินาศกรรมเพื่อแยกแคว้นนี้เป็นประเทศเอกราช อย่างไรก็ตาม ในวันที่ 20 ตุลาคม ค.ศ. 2011 กลุ่มนี้ก็ได้ประกาศวางอาวุธอย่างเป็นทางการ ตั้งแต่รัฐธรรมนูญสเปนฉบับปัจจุบันผ่านความเห็นชอบในปี ค.ศ. 1978 (พ.ศ. 2521) ประเทศสเปนมีนายกรัฐมนตรี (Presidentes del Gobierno) มาแล้ว 5 คน ได้แก่
1.อาโดลโฟ ซัวเรซ กอนซาเลซ (Adolfo Suárez González) ค.ศ. 1977-1981 (พ.ศ. 2520-2524)
2.เลโอโปลโด กัลโบ โซเตโล อี บุสเตโล (Leopoldo Calvo Sotelo y Bustelo) ค.ศ. 1981-1982 (พ.ศ. 2524-2525)
3เฟลิเป กอนซาเลซ มาร์เกซ (Felipe González Márquez) ค.ศ. 1982-1996 (พ.ศ. 2525-2539)
4.โฆเซ มาริอา อัซนาร์ โลเปซ (José María Aznar López) ค.ศ. 1996-2004 (พ.ศ. 2539-2547)
5.โฆเซ ลุยส์ โรดริเกซ ซาปาเตโร (José Luis Rodríguez Zapatero) ค.ศ. 2004-2011 (พ.ศ. 2547-2554)
6.มาเรียโน ราฆอย เบรย์ (Mariano Rajoy Brey) ค.ศ. 2011-2018 (พ.ศ. 2554-2561)
7.เปโดร ซันเชซ ค.ศ. 2018-ปัจจุบัน (พ.ศ. 2561-ปัจจุบัน)
ทุกวันนี้ สเปนเป็นประเทศประชาธิปไตยสมัยใหม่ ทำธุรกิจติดต่อค้าขายกับหลายประเทศในโลก รวมทั้งเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพยุโรป และใช้สกุลเงินยูโรในฐานะสกุลเงินประจำชาติตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2542ประเทศสเปนมีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยระบบรัฐสภาโดยมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1978 (พ.ศ. 2521) หลังจากที่ถูกปกครองภายใต้ระบอบเผด็จการโดยจอมพลฟรังโกมา 36 ปี (พ.ศ. 2482-2521) ในปี พ.ศ. 2521 เมื่อสเปนเปลี่ยนมาปกครองโดยระบอบประชาธิปไตย ได้มีการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ขึ้น คือ รัฐธรรมนูญฉบับปี พ.ศ. 2521 ซึ่งมีผลบังคับใช้มาจนถึงปัจจุบัน
เป็นการแตกบริษัทออกมาจาก โตโยต้า อินดรัสทรีส์ ซึ่งเป็นบริษัทที่ก่อตั้งโดยบิดาของเขา ซากิจิ โทโยดะ ซึ่งสามปีก่อนหน้าในปี 2477 ในช่วงที่ยังเป็นแผนกหนึ่งในโตโยต้า อินดรัสทรีส์ โตโยต้าก็ได้ผลิตสินค้าอย่างแรกเป็นของตนเองคือ เครื่องยนต์ Type A และในปี 2479 ก็ได้ทำการผลิตรถยนต์นั่งส่วนบุคคลคันแรกคือ Toyota AA ในปัจจุบัน โตโยต้า มอเตอร์ คอร์ปอเรชัน ผลิตรถยนต์ภายใต้ 5 เครื่องหมายการค้า อันประกอบด้วย Toyota, Hino, Lexus, Ranz และ Scion และยังถือหุ้น 51.2% ในไดฮัทสุ, ถือหุ้น 16.66% ในฟุจิเฮวี่อินดรัสทรีส์, ถือหุ้น 5.9% ในอีซูซุ และ ถือหุ้น 0.27% ในเทสลา นอกจากนี้ยังดำเนินกิจการร่วมค้าผลิตรถยนต์กับอีกสองบริษัทในจีน (GAC Toyota และ Sichuan FAW Toyota Motor), กับหนึ่งบริษัทในอินเดีย (Toyota Kirloskar), กับหนึ่งบริษัทในสาธารณรัฐเช็ค (TPCA) และบริษัทผลิตชิ้นส่วนและอะไหล่อื่นๆอีกมากมาย โตโยต้า มอเตอร์ คอร์ปอเรชัน เป็นส่วนหนึ่งของโตโยต้ากรุ๊ป หนึ่งในเครือบริษัทที่ใหญ่ที่สุดในโลก สำหรับในประเทศไทย โตโยต้า มอเตอร์ คอร์ปอเรชัน (ประเทศญี่ปุ่น) เป็นผู้ถือหุ้น 86.43% ในบริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย ฟ็อลคส์วาเกิน เป็นรถยนต์เยอรมัน ถือกำเนิดขึ้นจากดำริของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ซึ่งตั้งโจทย์ว่าต้องเป็นรถที่มีสมรรถนะดีพอ ประโยชน์ใช้สอยมากพอ และราคาถูกเท่ารถจักรยานยนต์ (ในสมัยนั้น) อีกด้วย โดยผู้ออกแบบรถ คือ แฟร์ดีนันท์ พอร์เชอ ผู้ให้กำเนิดรถยนต์ยี่ห้อพอร์เชอ (Porsche) คำว่าฟ็อลคส์วาเกินในภาษาเยอรมันมีความหมายว่า “ประชายนต์” คำขวัญปัจจุบันคือ Das Auto ที่แปลว่า ยนตรกรรม คิอิจิโร โทโยดะ เป็นนักธุรกิจชาวญี่ปุ่น เขาเป็นบุตรชายของซากิจิ โทโยดะ ผู้ก่อตั้งบริษัท เครื่องทอผ้าโตโยต้า ซึ่งเขาเป็นคนตัดสินใจเปลี่ยนธุรกิจของครอบครัวจากผลิตเครื่องทอผ้าไปสู่อุตสาหกรรมยานยนต์ และตัดสินใจแตกบริษัทออกมาจากบริษัทเดิม เป็นบริษัท โตโยต้า มอเตอร์ คอร์ปอเรชัน ซึ่งต่อมากลายเป็นบริษัทผู้ผลิตรถยนต์ที่ใหญ่ที่สุดของโลกแรกเริ่มนั้นพื้นที่บริเวณนี้ถูกแบ่งเขตออกเป็น 3 จังหวัด คือ โอวาริ มิกาวะ และโฮะ ต่อมาในช่วงสมัยไทกะ จังหวัดมิกาวะและจังหวัดโฮะถูกผนวกเข้าเป็นจังหวัดเดียวกัน จนกระทั่งปี พ.ศ. 2414 หลังจากมีการเลิกล้มระบอบศักดินา พื้นที่ของจังหวัดโอวารินอกจากส่วนที่อยู่ในคาบสมุทรชิตะได้ถูกก่อตั้งขึ้นเป็น จังหวัดนาโงยะ และจังหวัดมิกาวะได้ถูกผนวกรวมเข้ากับส่วนที่คาบสมุทรชิตะ แล้วก่อตั้งขึ้นเป็นจังหวัดนูกาตะ ต่อมาจังหวัดนาโงยะถูกเปลี่ยนชื่อเป็นจังหวัดไอจิในเดือนเมษายน พ.ศ. 2415 และได้ผนวกเอาจังหวัดมิกาวะเข้าไปด้วยในวันที่ 27 พฤศจิกายน ในปีเดียวกัน