โฉมนี้ ผลิตมาทั้งสิ้น 4 รุ่นปี ตั้งแต่รุ่นปี พ.ศ. 2527 – พ.ศ. 2530 โดยทั้ง 4 รุ่นปี มีความยาว 150 นิ้ว หรือ 3.81 เมตร สูง 1.35 เมตร กว้าง 1.62 เมตร เป็นโฉมแรกที่มีการทำตลาดในประเทศไทยอย่างเป็นทางการ (ซีวิค 2 รุ่นก่อนหน้านั้นเคยนำมาจำหน่าย แต่เป็นการจำหน่ายโดยเอเชี่ยน ฮอนด้า โดยนำเข้ามาเพียงไม่กี่คัน) โดยบริษัท ฮอนด้า ออโตโมบิล (ประเทศไทย) จำกัดเมื่อปี พ.ศ. 2527 ในยุคที่ฮอนด้ายังเพิ่งเริ่มเข้ามาลงทุนในประเทศไทย และเป็น Civic รุ่นแรกที่ประกอบในประเทศโดยโรงงานบางชัน เจเนอรัล แอสเซมบลี ในเครือพระนครยนตรการ ผู้จำหน่ายรถยนต์โอเปิล โฮลเด้น และไดฮัทสุในขณะนั้น มีตัวถัง 4 แบบ คือ hatchback 3 ประตู, ซีดาน 4 ประตู, คูเป้ 3 ประตู และ station wagon 5 ประตู มีเครื่องยนต์ขนาดเดียว คือ 1.5 ลิตร
มี 3 ระบบเกียร์ คือเกียร์ธรรมดา 5 สปีด เกียร์อัตโนมัติ 3 สปีด และเกียร์อัตโนมัติ 4 สปีด (ไม่มีระบบเกียร์ธรรมดา 4 สปีด กับเกียร์อัตโนมัติ 2 สปีด) และโฉมนี้เป็นโฉมสุดท้ายที่มีการผลิตเกียร์อัตโนมัติ แบบ3สปีดในปี ค.ศ. 1918 (พ.ศ. 2461) สโลวาเกียได้ร่วมกับแคว้นโบฮีเมีย (Bohemia) และแคว้นโมเรเวีย (Moravia) ซึ่งเป็นดินแดนข้างเคียงเพื่อก่อตั้งประเทศเชโกสโลวาเกีย (Czechoslovakia) เป็นอิสระจากจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี โดยได้รับการรับรองจากสนธิสัญญาแซงแชร์แมงและสนธิสัญญาตรียานง ในปีถัดมา คือ ค.ศ. 1919 (พ.ศ. 2462) เป็นช่วงเวลาแห่งความวุ่นวายที่ตามมาหลังการแตกแยกของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี ดินแดนสโลวาเกียได้ถูกโจมตีจากสาธารณรัฐโซเวียตฮังการี (Hungarian Soviet Republic) พื้นที่ประมาณ 1 ใน 3 ของสโลวาเกียได้ถูกยึดครองและตั้งเป็นสาธารณรัฐโซเวียตสโลวัก (Slovak Soviet Republic) อยู่ไม่ถึงหนึ่งเดือน จึงถูกกองทัพเชโกสโลวักยึดพื้นที่คืนมาได้
ในปี ค.ศ. 1939 ประธานาธิบดียอเซฟ ตีซอ ผู้นิยมนาซีเยอรมนี ได้ประกาศให้สาธารณรัฐสโลวักที่ 1 (First Slovak Republic) เป็นเอกราชจากเชโกสโลวาเกีย จึงเกิดขบวนการต่อต้านนาซีขึ้นซึ่งได้ก่อการประท้วงที่รู้จักกันในชื่อ การลุกฮือของชาวสโลวัก (Slovak National Uprising) ในปี ค.ศ. 1944 (พ.ศ. 2487) แม้ว่ากลุ่มผู้ก่อการจลาจลจะถูกปราบปรามลงได้ แต่การสู้รบแบบกองโจรก็ยังดำเนินต่อไป จนกระทั่งกองทัพโซเวียต (ซึ่งได้รับความช่วยเหลือจากกองทัพโรมาเนีย) เข้ามาขับไล่นาซีออกไปจากสโลวาเกียในปี ค.ศ. 1945 (พ.ศ. 2488) หลังสงครามโลกครั้งที่สอง เชโกสโลวาเกียได้รับการจัดตั้งเป็นประเทศขึ้นใหม่ภายใต้อิทธิพลของสหภาพโซเวียตและสนธิสัญญาวอร์ซอตั้งแต่ปี ค.ศ. 1945 (พ.ศ. 2488) เป็นต้นมา ต่อมาในปี ค.ศ. 1969 (พ.ศ. 2512) ประเทศนี้ได้กลายเป็นรัฐสหพันธ์ของสาธารณรัฐสังคมนิยมเช็ก (Czech Socialist Republic) และสาธารณรัฐสังคมนิยมสโลวัก (Slovak Socialist Republic) การปกครองระบอบคอมมิวนิสต์ในเชโกสโลวาเกียสิ้นสุดลงเมื่อถึงปี ค.ศ. 1989 (พ.ศ. 2532) ซึ่งอยู่ในช่วงการปฏิวัติเวลเวต (Velvet Revolution) อันเป็นไปอย่างสันติ ตามมาด้วยการสลายตัวของประเทศออกเป็นรัฐสืบสิทธิ์สองรัฐ นั่นคือ สโลวาเกียและสาธารณรัฐเช็กได้แยกออกจากกันหลังวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1993 (พ.ศ. 2536) เหตุการณ์นี้บางครั้งเรียกว่าการแยกทางเวลเวต (Velvet Divorce) อย่างไรก็ตาม สโลวาเกียยังคงมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับสาธารณรัฐเช็กเช่นเดียวกับประเทศยุโรปกลางอื่น ๆ ในกลุ่มวีเซกราด สโลวาเกียได้เข้าเป็นสมาชิกของสหภาพยุโรปเมื่อเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 2004 (พ.ศ. 2547)ในการเลือกตั้งทั่วไปครั้งล่าสุดเมื่อปี 2549 นาย Robert Fico และพรรค Smer ซึ่งเป็นพรรคฝ่ายซ้ายเอาชนะรัฐบาลเก่าของนาย Mikulas Dzurinda หัวหน้าพรรค Slovak Democratic Coalition (SDK) ซึ่งดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีถึง 8 ปี และมีนโยบายบริหารประเทศ โดยเน้นการปฏิรูปเศรษฐกิจแบบเสรี การเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีกับประเทศเพื่อนบ้าน และการให้ความสำคัญกับการเข้าเป็นสมาชิกนาโต้และสหภาพยุโรป จึงทำให้สโลวาเกียภายใต้การบริหารของนายกรัฐมนตรี Dzurinda ได้รับการยอมรับจากนานาประเทศมากขึ้น และประสบความสำเร็จในการผลักดันสโลวาเกียเข้าเป็นสมาชิก OECD สหภาพยุโรป และ นาโต้ในปี 2548 อย่างไรก็ตามความนิยมในรัฐบาลในระยะหลังกลับลดลง เนื่องจากความไม่แน่ใจของประชาชนเกี่ยวกับอนาคตของสโลวาเกียภายหลังการเข้าเป็นสมาชิกของสหภาพยุโรป ความขัดแย้งและการทุจริตภายในรัฐบาล อัตราการว่างงานที่สูงขึ้น และความแตกต่างระหว่างคนรวยและคนจนในประเทศ ส่งผลให้พรรค SDK ของนาย Dzurinda พ่ายแพ้การเลือกตั้งต่อพรรค Smer ของนาย Robert Fico ในที่สุด
รัฐบาลปัจจุบันของนาย Robert Fico ได้ปรับเปลี่ยนนโยบายบริหาร คือเน้นความเป็นชาตินิยม ประกอบไปด้วยการให้ความสำคัญกับการปฏิรูประบบสวัสดิการสังคม และการระงับการปฏิรูปทางเศรษฐกิจของรัฐบาลที่แล้ว ปัจจุบัน ถึงแม้ว่ารัฐบาลจะยังคงได้การยอมรับจากประชาชนสโลวาเกียในระดับที่น่าพอใจ แต่ก็มีผู้ไม่เห็นด้วยกับนโยบายของรัฐบาลนี้ โดยเฉพาะในภาคธุรกิจและนานาประเทศที่เห็นว่านโยบายของรัฐบาลจะส่งผลให้สโลวาเกียมีอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ถดถอยลงนโยบายต่างประเทศในปัจจุบัน ภายใต้การนำของนาย Jan Kubis รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และอดีตนักการทูต ซึ่งเชี่ยวชาญการทูตพหุภาคี เปลี่ยนแนวทางจากการให้ความสำคัญและสร้างความใกล้ชิดกับสหรัฐฯ มาเป็นการให้ความสำคัญกับสหภาพยุโรป และปรับนโยบายต่างประเทศตามแนวทางของสหภาพยุโรปแทน ปัจจุบันสโลวาเกียมีบทบาทที่สำคัญในเวทีระหว่างประเทศต่างๆ โดยปัจจุบันดำรงตำแหน่งสมาชิกไม่ถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งองค์การสหประชาชาติ วาระปี 2549-2550 นอกจากนี้ยังเป็นสมาชิกของ OSCE OECD นาโต้ และ สหภาพยุโรป ตั้งแต่ปี 2547
ปัจจุบันความสัมพันธ์ระหว่างสโลวาเกียกับฮังการีเป็นประเด็นที่อ่อนไหวในการดำเนินนโยบายต่างประเทศของสโลวาเกีย อันเนื่องมาจากปัญหาชนกลุ่มน้อยเชื้อสายฮังกาเรียนใน สโลวาเกีย ซึ่งมีอยู่ประมาณประมาณ 600,000 คน หรือ ร้อยละ 9.7 (ฮังการีเคยปกครองสโลวาเกียอยู่กว่า 1,000 ปีภายใต้จักรวรรดิออสโตร-ฮังการเรียน จึงมีชาวฮังการีในสโลวาเกียจำนวนมาก) ในสมัยของนายกรัฐมนตรี Meciar ได้เคยออกกฎหมายที่ละเมิดสิทธิของชาวฮังกาเรียน เช่น ประกาศใช้ภาษาสโลวักเป็นภาษาทางการเพียงภาษาเดียว อีกทั้งยังห้ามใช้ป้ายภาษาฮังการีแม้แต่ในย่านที่อยู่อาศัยของชาวฮังกาเรียนกลุ่มน้อย ในขณะที่ฮังการีได้ออกกฎหมายที่จะให้สิทธิและความคุ้มครองชนเชื้อสายฮังการีแม้จะเป็นประชากรของประเทศอื่น ๆ จึงส่งผลให้ประเทศทั้งสองมีความขัดแย้งกันในระดับหนึ่งเศรษฐกิจของสโลวาเกียเริ่มมีอัตราการเจริญเติบโตที่สูงขึ้นภายหลังจากที่รัฐบาลของนาย Mikulas Dzurinda ได้เข้ามาบริหารประเทศในปี 2541 โดยนโยบายหลักของรัฐบาลคือการปรับปรุงโครงสร้างทางเศรษฐกิจแบบรวมศูนย์ไปสู่ระบบเศรษฐกิจการตลาด การสร้างเสถียรภาพ และการปฏิรูปโครงสร้างของระบบเศรษฐกิจมหภาค ตลอดจนดำเนินการแปรรูปรัฐวิสาหกิจและระบบธนาคาร ซึ่งส่งผลให้สภาวะทางเศรษฐกิจของสโลวักมีความมั่นคงและการเจริญเติบโตเพิ่มขึ้น สโลวาเกียเป็นแหล่งดึงดูดการลงทุนจากต่างชาติ (Foreign Direct Investment) ที่สูงมากเนื่องจากนโยบายรัฐบาลที่เอื้ออำนวยการลงทุนจากต่างชาติ (ธนาคารส่วนใหญ่ในประเทศเป็นของคนต่างชาติ) ศักยภาพการผลิตภาคอุตสาหกรรมที่สูง เนื่องจากในสมัยสังคมนิยมถูกกำหนดให้เป็นศูนย์อุตสาหกรรมเพื่อผลิตสินค้าจักรกล อุปกรณ์โดยเฉพาะอาวุธยุทโธปกรณ์ต่างๆ นอกจากนี้สโลวาเกียยังมีข้อได้เปรียบเรื่องค่าแรงที่ถูก และแรงงานมีการศึกษา มีระบบโครงสร้างภาษีที่เอื้ออำนวยต่อนักลงทุน ปัจจุบันมีบริษัทต่างชาติ อาทิ U.S. Steel, Volkswagen, Siemens, Plastic Omnium Matsushita, Deutsche Telecom และ Sony เข้าไปลงทุนในสโลวาเกีย นอกจากนี้ สโลวาเกียยังเป็นฐานการผลิตสินค้าราคาถูกสำหรับประเทศในสหภาพยุโรปอีกด้วย