โฉมนี้ ผลิตมาทั้งสิ้นถึง 7 รุ่นปี ตั้งแต่รุ่นปี พ.ศ. 2516 – พ.ศ. 2522 รุ่นบุกเบิกมีแรงม้าเพียง 50 แรงม้า และมีความยาว 139.8 นิ้ว หรือ 3.55 เมตร แต่ได้ค่อยๆ พัฒนาขึ้น โดยรุ่นสุดท้ายของโฉมนี้มีแรงม้า 60 แรงม้า และยาว 146.9 นิ้ว หรือ 3.73 เมตร โฉมนี้ เป็นรุ่นที่อยู่ในยุคที่ระบบเกียร์ยังไม่เน้นการประหยัดน้ำมัน และเทคโนโลยีด้านรถยนต์ยังใช้น้ำมันเชื้อเพลิงได้ไม่ประหยัดเท่าใดนัก รถโฉมนี้ที่ออกวางจำหน่ายในขณะนั้น จะมีระบบเกียร์อยู่ 3 แบบให้เลือกซื้อ คือ เกียร์อัตโนมัติ 2 สปีด, เกียร์ธรรมดา 4 สปีด, เกียร์ธรรมดา 5 สปีด แต่จะผลิตเกียร์ธรรมดา 4 สปีด เป็นมาตรฐาน เพราะเกียร์ธรรมดา 5 สปีด ยังมีราคาสูง ส่วนเกียร์อัตโนมัติจะกินน้ำมันมาก ทำให้ไม่เป็นที่นิยม มีเครื่องยนต์ให้เลือก 2 ขนาด คือขนาด 1.2 กับ 1.5 ลิตร
มีตัวถัง 5 แบบ คือแบบคูเป้ 2 ประตู, hatchback 3 ประตู, ซีดาน 4 ประตู, hatchback 5 ประตู และ station wagon 5 ประตู โดยในประเทศไทยมีการเข้ามาจำหน่ายโดยบริษัท Asian Honda จำกัดเพียงไม่กี่คันในเดือนตุลาคม 2543 สโลวีเนียได้จัดการเลือกตั้งทั่วไป ผลการเลือกตั้งปรากฏว่าพรรค LDS ของนาย Drnovsek ยังคงได้รับความนิยมจากประชาชน นาย Drnovsek ได้จัดตั้งรัฐบาลผสม 4 พรรค โดยร่วมกับพรรค United List of Social Democrats (ZLSD) พรรค SLS+SKD และพรรค Democratic Party of Retired Persons of Slovenia (DeSUS) โดยนาย Drnovsek ยังคงได้รับการเสนอชื่อให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ต่อมา ในเดือนพฤศจิกายน 2545 นาย Drnovsek ได้ลงสมัครรับเลือกตั้งในตำแหน่งประธานาธิบดีและได้รับเลือกตั้ง จึงได้แต่งตั้งนาย Anton Rop เป็นนายกรัฐมนตรี โดยรัฐสภาได้ให้การรับรองเมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2545
โฉมนี้ใช้รหัส S210 มีตัวถังให้เลือกแค่ตัวถังซีดาน โดยเครื่องยนต์มีให้เลือกคือ 2.5 เบนซิน V6,2.5 ไฮบริด,3.5 V6และ4.6 V8 รุ่นนี้มีความยาวตัวถัง 4,895 มม.และกว้าง 1,860 มม. ในรุ่นAthlete นั้นมีรูปลักษณ์ที่ปราดเปรียวโฉบเฉี่ยวมากกว่า Royal เพราะได้รับการตกแต่งพิเศษอย่างกระจังหน้าแบบสปอร์ต กันชนหน้า-หลังดีไซน์ใหม่และชุดแอโรพาร์ทรอบคัน ในห้องโดยสารตกแต่งเน้นความทันสมัยและใช้เบาะที่นั่งกึ่งบั๊กเก็ตซีทและมีเทคโนโลยีไฮเทคอย่าง Toyota Multi-Operation Touch ซึ่งผสมผสานการควบคุมฟังก์ชันตัวรถอยู่ที่สวิทช์ชิ้นเดียวซึ่งติดตั้งบริเวณคอนโซลกลาง แอ่งยุบปากปล่อง หรือ แอ่งภูเขาไฟรูปกระจาด เป็นแอ่งภูเขาไฟที่มีขอบแอ่งเอียงชันลาดลงสู่ก้นแอ่ง อาจมีหรือไม่มีกรวยภูเขาไฟขนาดต่างๆ โผล่อยู่ที่ก้นแอ่งก็ได้ แอ่งภูเขาไฟแบบนี้เกิดขึ้นจากการระเบิดอย่างรุนแรงและฉับพลันในส่วนลึกลงไปของภูเขาไฟ โดยมีพลังระเบิดมากพอที่จะผลักดันส่วนบนให้กระจัดกระจายออกไปรอบทิศทาง ทำให้ปริมาณหินมหาศาลเคลื่อนย้าย เกิดเป็นรอยรูปกระจาดขึ้น หลังจากนั้น การระเบิดย่อย ๆ หรือการหลั่งไหลของลาวาขึ้นสู่ผิวพื้นก้นกระจาด ก็อาจทำให้เกิดกรวดภูเขาไฟย่อย ๆ หรือใหญ่ ๆ ขึ้นท่ามกลางแอ่งก้นกระจาดอีกต่อหนึ่ง
ตัวอย่างภูมิประเทศแบบนี้เห็นได้ชัดที่ หมู่เกาะกรากะตัว ประเทศอินโดนีเซีย ภูเขาไฟตาอาล ใกล้กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ และที่ภูเขาไฟวิสุเวียส ในประเทศอิตาลี ในประเทศไทยนั้น มีตัวอย่างที่เข้าใจว่าเป็นแอ่งภูเขาไฟเล็ก ๆ แบบนี้ที่เขาหลวง อำเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย อันเป็นภูเขาไฟที่สงบแล้วเครเตอร์และแอ่งยุบปากปล่องเครเตอร์เป็นปากปล่องที่มีลักษณะเป็นแอ่งค่อนข้างกลมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางไม่เกิน 1 กิโลเมตร เป็นผลจากการปะทุของก๊าซและตะกอนภูเขาไฟ ส่วนแอ่งยุบปากปล่องมีลักษณะคล้ายเครเตอร์แต่มีขนาดใหญ่กว่าตั้งแต่ 1 ถึง 50 กิโลเมตร มีรูปร่างกลมถึงค่อนข้างรีมักถูกปิดทับด้วยน้ำฝนหรือหิมะ เกิดจากการแตกหักของโครงสร้างภูเขาไฟทำให้ชั้นหินหลอมเหลวใต้ภูเขาไฟเกิดการทรุดหรือยุบตัวลง
แอ่งยุบปากปล่องเยลโลว์สโตนแอ่งยุบปากปล่องในเยลโลว์สโตนอุทยานแห่งชาติเยลโลว์สโตนมีชื่อเสียงในเรื่องของกีเซอร์และน้ำพุร้อน ถือเป็นหลักฐานที่บ่งชี้ถึงการมีระบบแมกมาที่มียังพลังอยู่ ระบบแมกมานี้เคยทำให้เกิดการระเบิดของภูเขาไฟครั้งรุนแรงที่สุดในประวัติศาสตร์โลกที่เรียกได้ว่า ซูเปอร์วอลเคโน มาแล้วหลายครั้ง หนึ่งในนั้นสร้างแอ่งยุบปากปล่องที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางถึงประมาณ 50 ไมล์ (ประมาณ 80 กิโลเมตร) หอสังเกตการณ์ภูเขาไฟในเยลโลว์สโตนตรวจจับแผ่นดินไหว การเสียรูปของพื้นดิน การไหลและอุณหภูมิของกระแสน้ำในพื้นที่อย่างใกล้ชิด พบว่ามีกลุ่มของแผ่นดินไหวเกิดขึ้นเป็นครั้งคราว ทำให้แผ่นดินยกตัวขึ้นและลำธารมีการเปลี่ยนแปลงทั้งปริมาณและอุณหภูมิของน้ำ แต่ก็ยังไม่มีหลักฐานบ่งบอกว่าจะมีการระเบิดของภูเขาไฟเกิด ขึ้นในอนาคตอันใกล้นี้ การระเบิดของภูเขาไฟในเยลโลว์สโตนครั้งล่าสุดเกิดขึ้นเมื่อ 70,000 ปีก่อน ทำให้เกิดลาวาหลากของที่ราบสูง Pitchstone ลาวาหลากนี้มีขนาดเท่ากับวอชิงตัน ดี.ซี. และหนามากกว่า 100 ฟุต (30 เมตร) ใต้เยล์โลว์สโตนมีจุดศูนย์รวมความร้อน (hotspot) อยู่จุดศูนย์รวมความร้อนเป็นมวลของวัสดุร้อนที่ลอยผ่านชั้นแมนเทิลของโลกขึ้นมา