Toyota Prius

โตโยต้า พริอุส (อังกฤษ: Toyota Prius) เป็นรถยนต์นั่งขนาดกลาง ของค่ายรถยนต์โตโยต้า เป็นรถรุ่นแรกของโลกที่นำระบบเครื่องยนต์ไฮบริดมาใช้ในเชิงพาณิชย์ (รถยนต์ไฮบริด คือ รถยนต์ที่ใช้ระบบไฟฟ้าแบตเตอรี่มาช่วยในการขับเคลื่อนในบางสถานการณ์ ทำให้รถยนต์ที่ใช้ระบบไฮบริดประหยัดน้ำมันได้ประมาณ 30-50%) เริ่มการผลิตครั้งแรกใน พ.ศ. 2540 จนถึงปัจจุบันเศรษฐกิจของเบลเยียมเชื่อมโยงกับตลาดโลกค่อนข้างมาก เป็นศูนย์กลางการคมนาคมเชื่อมต่อกับภูมิภาคอื่นของยุโรป เบลเยียมเป็นประเทศแรกในภาคพื้นทวีปยุโรปที่เกิดการปฏิวัติอุตสาหกรรมโดยมีการพัฒนาการทำเหมืองแร่ ตีเหล็ก และอุตสาหกรรมสิ่งทอ เบลเยียมได้พัฒนาสาธารณูปโภคด้านการขนส่ง ทั้งท่าเรือ คลอง รถไฟ และทางหลวง เชื่อมเศรษฐกิจเข้ากับประเทศอื่น จนกลายเป็นประเทศที่มีการค้าขายระหว่างประเทศสูงสุดเป็นอันดับ 15 ของโลกในปี พ.ศ. 2550 จุดเด่นของเศรษฐกิจเบลเยียมคือ ผลิตภาพของแรงงาน รายได้ประชาชาติ และการส่งออกต่อประชากรสูง การส่งออกของเบลเยียมคิดเป็นมากกว่าสองในสามของผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (จีเอ็นพี) สินค้าส่งออกหลักของเบลเยียมได้แก่เครื่องจักรและอุปกรณ์ สารเคมี เพชรเจียรไน ผลิตภัณฑ์จากเหล็กและโลหะ และอาหาร ส่วนสินค้านำเข้าหลักได้แก่วัตถุดิบ เครื่องจักรและอุปกรณ์ สารเคมี เพชรดิบ ยา อาหาร อุปกรณ์ระบบคมนาคม และผลิตภัณฑ์น้ำมันเบลเยียมได้เปรียบจากตำแหน่งที่ตั้งที่อยู่ในศูนย์กลางพื้นที่ที่มีการพัฒนาเศรษฐกิจสูง เบลเยียมเป็นสมาชิกขององค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา

jumbo jili

รถตระกูลคัมรี่ กำเนิดโดยการแตกหน่อออกมาจากรถตระกูลเซลิก้า รถตระกูลเซลิก้ากำเนิดขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2513 ในเวลานั้น เซลิก้าเป็นรถสปอร์ตที่นั่งตอนเดียว ขับเคลื่อนล้อหลัง เปิดประทุนได้ รูปตัวถัง 3 แบบ คือ Hardtop , Liftback และ Coupe เหมาะสำหรับงานแข่งรถ โดยเฉพาะการแข่งแรลลี่ หลังจากนั้น ก็ได้แยกสายการผลิตออกไปเป็นคัมรี่ สาเหตุของการแบ่งคัมรี่ออกเป็นรุ่น V และ XV เนื่องมาจาก ที่ญี่ปุ่น กำหนดเกณฑ์แบ่งขนาดของรถยนต์โดยสารออกเป็น 3 ประเภท คือ หำ Kei Car คือรถที่มีขนาดยาวไม่เกิน 3400 มิลลิเมตร, กว้างไม่เกิน 1480 มิลลิเมตร, สูงไม่เกิน 2000 มิลลิเมตร เครื่องยนต์ความจุกระบอกสูบไม่เกิน 660 ลูกบาศก์เซนติเมตร กำลังสูงสุดไม่เกิน 47 กิโลวัตต์ 5 Number คือรถที่มีขนาดยาวไม่เกิน 4700 มิลลิเมตร, กว้างไม่เกิน 1700 มิลลิเมตร, สูงไม่เกิน 2000 มิลลิเมตร และใช้เครื่องยนต์ความจุกระบอกสูบไม่เกิน 2000 ลูกบาศก์เซนติเมตร กำลังสูงสุดไม่เกิน 147กิโลวัตต์ 3 Number คือรถที่มีขนาดตัวถังและเครื่องยนต์ใหญ่กว่าพิกัดของ 5 Number จากการจำแนกขนาดของรถยนต์นี้ จะนำไปใช้คิดอัตราการจ่ายภาษีในด้านต่างๆ รถยนต์ประเภท Kei Car จะเสียภาษีต่ำที่สุด, 5 Number จะจ่ายภาษีปานกลาง และ 3 Number จะจ่ายภาษีหนักที่สุด ในรุ่นแรกๆ ของคัมรี่นั้น ใช้รหัสตัวถัง V ในยุคนี้โตโยต้าพยายามจะตรึงขนาดตัวถังและเครื่องยนต์ไว้อยู่ที่ระดับ 5 Number เพื่อให้เสียภาษีในอัตราต่ำ ทำให้คัมรี่ในยุคแรกนี้ยังจัดอยู่ในระดับรถยนต์นั่งขนาดเล็ก หรือ C-Segment (ซึ่งเป็นขนาดเดียวกับที่โตโยต้า โคโรลล่า อัสติส เป็นในปัจจุบัน แต่เนื่องจากในยุคนั้น โคโรลล่าเองยังเป็นรถขนาดเล็กมาก หรือ B-Segment ห่างจากคัมรี่ 1 ขั้นเต็ม คัมรี่จึงมีที่ยืนทางการตลาด)

สล็อต


ต่อมา รถรุ่นใหม่ๆ เริ่มออกมามีขนาดใหญ่ขึ้น ทั้งค่ายโตโยต้า และค่ายอื่น โตโยต้าจึงต้องพยายามออกแบบคัมรี่ให้ใหญ่ขึ้นเพื่อสู้กับกระแสการเปลี่ยนแปลงเช่นกัน แต่คัมรี่รุ่นที่มีอยู่ (รหัส V) ใหญ่จนถึงขีดจำกัดของพิกัด 5 Number ของญี่ปุ่นแล้ว รถที่ใหญ่กว่านี้แม้เพียงเล็กน้อยจะจัดอยู่ในพิกัด 3 Number ทันที และจะทำให้ค่าภาษีของคัมรี่ในญี่ปุ่นสูงขึ้นอย่างมาก โตโยต้าจึงตัดสินใจ แยกเป็นสองคัมรี่ คัมรี่แรก คือคัมรี่ที่พัฒนาต่อจากเดิม ตรึงขนาดไว้ที่ 5 Number ขายเฉพาะในญี่ปุ่น คัมรี่สอง ออกแบบให้ใหญ่ขึ้นไปอยู่ที่ขนาดกลาง หรือ D-Degment ขายในประเทศอื่น (เนื่องจากอัตราภาษี 5 Number, 3 Number มีผลเฉพาะที่ญี่ปุ่น) โดยคัมรี่รุ่นที่มีขนาดใหญ่กว่านี้ ใช้รหัสตัวถัง XV โดย XV รุ่นแรก เปิดตัวใน พ.ศ. 2534 จนกระทั่งเมื่อเวลาผ่านไป รถโคโรลล่าเองก็ได้รับการพัฒนาจนกระทั่งมีขนาดใหญ่ขึ้นใกล้เคียงคัมรี่รหัส V ในขณะที่คัมรี่ XV ก็พัฒนารุ่นใหม่ให้ขนาดใหญ่ขึ้น นั่งสบายขึ้นไปเรื่อยๆ จนคัมรี่รหัส V ไม่มีที่ยืนในตลาดอีกต่อไป ในปี พ.ศ. 2541 จึงได้ยกเลิกการใช้ชื่อคัมรี่ ไปใช้ชื่อ โตโยต้า วิสต้า และกลายเป็นรถขนาดเดียวกับโคโรลล่า และต่อมาก็ได้ยกเลิกไป โดยรหัส V รุ่นสุดท้ายที่ได้ใช้ชื่อคัมรี่คือรุ่น V40ในรุ่นปี พ.ศ. 2523 ตระกูลเซลิก้า ได้มีการผลิตรถเซลิก้ารุ่นพิเศษ เป็นรถเซลิก้า ที่นั่งสองตอน ตัวถัง Sedan ซึ่งเป็นการผสมผสานเทคโนโลยีรถสปอร์ตเข้ากับรถเก๋งทั่วไป โดยเป็นการผสมเทคโนโลยีระหว่างรถสามตระกูล โดยรับจากตระกูลเซลิก้าเป็นส่วนใหญ่ และรับจากตระกูลโคโรน่า กับตระกูลคาริน่าอีกจำนวนหนึ่ง รถเซลิก้ารุ่นพิเศษ มีชื่อว่ารุ่น “เซลิก้า คัมรี่” รถรุ่นเซลิก้า คัมรี่ มีความใกล้เคียงกับรถรุ่นเซลิก้าธรรมดา แต่การที่ผสมผสานเทคโนโลยีสปอร์ตเข้ากับรถเก๋งทั่วๆไป ทำให้รุ่นเซลิก้า คัมรี่ มียอดขายสูงขึ้นเรื่อยๆ จนกระทั่งรุ่นปี พ.ศ. 2525 รถเซลิก้า คัมรี่ มียอดขายสูงแซงรถรุ่นเซลิก้าธรรมดา และในบางประเทศ รถรุ่นเซลิก้า คัมรี่ เข้ามาครองตลาดแทนรถรุ่นเซลิก้าธรรมดา ทำให้โตโยต้า ค่อนข้างมั่นใจว่า “คัมรี่” สามารถยืนหยัดได้โดยไม่ต้องแอบอิงชื่อตระกูลเซลิก้า และ”คัมรี่” สามารถเป็นรถตระกูลใหม่ของโตโยต้าได้ ดังนั้น โตโยต้าจึงตั้งคัมรี่เป็นรถตระกูลใหม่ และให้เริ่มผลิตได้ทันที รหัส V (Narrow-body) V10 (พ.ศ. 2525-2529) โตโยต้า คัมรี่ V10 โฉมนี้ เป็นโฉมแรกของรถรุ่นคัมรี่ ผู้ออกแบบรถต้องพยายามทำให้รถตระกูลใหม่นี้มีความเป็นเอกลักษณ์ของตระกูล โดยรถรุ่นนี้จะยังเหลือความเป็นคาริน่า กับความเป็นโคโรน่า ยังเหลืออยู่เล็กน้อย แต่ก็น้อยมาก และในขณะเดียวกันก็เริ่มตีตัวออกห่างจากความเป็นเซลิก้า เริ่มมีความเป็นเอกลักษณ์ของตน รถคัมรี่โฉมนี้ จัดอยู่ในประเภทรถยนต์ขนาดเล็ก มีสองตอน ขับเคลื่อนล้อหน้า ซึ่งในโฉมนี้ จะมีการผลิตตัวถัง 2 แบบ คือ Sedan 4 ประตู และ Hatchback 5 ประตู โฉมนี้ มีระบบเกียร์ 2 แบบ คือ อัตโนมัติ 4 สปีด และธรรมดา 5 สปีด มีเครื่องยนต์ 2 ขนาด คือ 1.8 ลิตร (74 แรงม้า) และ 2.0 ลิตร (92 แรงม้า)

สล็อตออนไลน์


V20 (พ.ศ. 2529-2533) โตโยต้า คัมรี่ V20 โฉมนี้ มีตั้งแต่แบบขับเคลื่อนล้อหน้า และขับเคลื่อนสี่ล้อ มีตัวถัง 2 แบบ คือ sedan 4 ประตู กับ station wagon 4 ประตู มีเครื่องยนต์ 3 ขนาด คือ 1.8 ลิตร (86 แรงม้า) , 2.0 ลิตร (110 แรงม้า) และ 2.5 ลิตร (156 แรงม้า) ซึ่งเฉพาะรุ่น 2.5 ลิตร จะเข้าข่ายจ่ายภาษีแบบ 3 Number มีระบบเกียร์ 2 แบบ คือ อัตโนมัติ 4 สปีด และ ธรรมดา 5 สปีด V30 (พ.ศ. 2533-2537) โตโยต้า คัมรี่ V30 โฉมนี้ มีขายเฉพาะในญี่ปุ่นเท่านั้น เนื่องจากในตลาดโลกนั้นโตโยต้าได้พัฒนาคัมรี่รหัส XV10 ไปทำตลาดแทนแล้ว อย่างไรก็ตาม V30 กับ XV10 พัฒนามาด้วยกัน ในเรื่องของรูปทรงเส้นสายจึงคล้ายกัน แต่จะแตกต่างกันที่ขนาด มีตัวทั้งสองแบบคือซีดานและฮาร์ดท็อป (เปิดประทุนหลังคาแข็ง) เน้นขายเครื่องยนต์ 2.0 ลิตรสี่สูบ และ 2.0 ลิตรสี่สูบเบนซินเป็นหลัก แต่มีรุ่น 1.8 ลิตรสี่สูบสำหรับลูกค้าเน้นประหยัด และสำหรับลูกค้าญี่ปุ่นที่การจ่ายภาษีไม่เป็นประเด็นจะมีรุ่น 2.2 ลิตร เบนซินสี่สูบ 2.2 ลิตร ดีเซลสี่สูบ และ 3.0 ลิตร เบนซินหกสูบเป็นตัวเลือก
V40 (พ.ศ. 2537-2541) โตโยต้า คัมรี่ V40 โฉมนี้ มีขายเฉพาะที่ญี่ปุ่นเท่านั้น มีเครื่องยนต์ 1.8 2.0 และ 2.2 ลิตร เบนซิน ไม่เป็นที่รู้จักมากนักในตลาดโลก เป็นรุ่นแรกของคัมรี่ที่ติดตั้งระบบเบรกป้องกันล้อล็อก และถุงลมนิรภัยคู่ เป็นอุปกรณ์มาตรฐานสำหรับทุกรุ่น รหัส XV (Wide-body) XV10 (พ.ศ. 2534-2539) โตโยต้า คัมรี่ XV10 โฉมนี้ ขับเคลื่อนล้อหน้า มีเครื่องยนต์ 3 ขนาด คือ 2.2 ลิตร รุ่น 5S-FE 4 สูบ (130 แรงม้า) 3.0 ลิตร รุ่น 3VZ-FE V6 (185 แรงม้า) 3.0 ลิตร รุ่น 1MZ-FE V6 (194 แรงม้า) มีตัวถัง 2 แบบ คือ Sedan 4 ประตู , Station Wagon 4 ประตู มี 2 ระบบเกียร์ คือ อัตโนมัติ 4 สปีด และ ธรรมดา 5 สปีดดังเดิม ในประเทศไทย โฉมนี้เป็นโฉมแรกที่โด่งดังในไทย เปิดตัวในประเทศไทย พ.ศ. 2536 แต่ยังเป็นโฉมที่ยังไม่ผลิตในไทย (รถนำเข้าจากประเทศออสเตรเลีย) ดังนั้น ในวงการรถไทย จึงเรียกว่า “โฉมแรกประกอบนอก” ต่อมาใน พ.ศ. 2538 มีการปรับโฉมเปลี่ยนไฟท้าย ทำให้ในรุ่นท้ายๆ ของโฉมนี้ วงการรถไทย เรียกว่า “โฉมท้ายหงส์”

jumboslot


XV10 ในประเทศไทย แบ่งรุ่นย่อยออกเป็น 3 รุ่นดังนี้ 2.2GXi (มีให้เลือก เกียร์อัตโนมัติ 4 สปีด และเกียร์ธรรมดา 5 สปีด ) เป็นรุ่นต่ำสุด 2.2GXi ABS (มีให้เลือก เกียร์อัตโนมัติ 4 สปีด และเกียร์ธรรมดา 5 สปีด) มีระบบเบรกป้องกันล้อล็อก เป็นอุปกรณ์มาตรฐาน แต่ยังไม่มีถุงลมนิรภัย ในช่วงแรกๆ โดยรุ่นนี้เป็นรุ่นท็อปสุดในช่วงปี 2536 หรือปีแรกที่คัมรี่ออกขาย 3.0 V6 เป็นรุ่นท็อปสุด ออกมาใน พ.ศ. 2537 ในช่วงปีสุดท้ายก่อนปรับโฉม มีการติดตั้งถุงลมนิรภัยเป็นอุปกรณ์มาตรฐาน XV20 (พ.ศ. 2539-2545) โตโยต้า คัมรี่ XV20 โฉมนี้ ขับเคลื่อนล้อหน้า มีเครื่องยนต์ 2 ขนาด คือ 2.2 ลิตร 5S-FE (130 แรงม้า) กับ 3.0 ลิตร 1MZ-FE (194 แรงม้า) มีตัวถัง 2 แบบ คือ Sedan 4 ประตู และ Station Wagon 4 ประตู มี 2 ระบบเกียร์ คือ อัตโนมัติ 4 สปีด และ ธรรมดา 5 สปีด เช่นเดียวกับโฉมเดิม โฉมนี้ รุ่นปีแรกๆกับรุ่นปีท้ายๆ มีความแตกต่างกันในรายละเอียดพอควร พ่อค้ารถในไทยและวงการรถไทยจึงใช้ชื่อเรียกโฉมที่ต่างกัน โดยในรุ่นแรกๆ เรียกว่า “โฉมไฟท้ายไม้บรรทัด” (ไฟยาว) ส่วนรุ่นท้ายๆ จะเรียก “โฉมท้ายย้อย” (ไฟย้อย) แต่การขายก็ล่าช้ากว่าต่างประเทศ โดยขายระหว่าง พ.ศ. 2542-2545 ในประเทศไทย โฉมนี้ ในช่วงแรกคัมรี่ยังต้องนำเข้าจากประเทศออสเตรเลีย แต่ใน พ.ศ. 2543 ก็ย้ายฐานการผลิตเข้ามาในประเทศไทย ในประเทศไทยแบ่งรุ่นย่อยออกเป็น 2 รุ่นดังนี้ 2.2GXi (มีให้เลือก เกียร์อัตโนมัติ 4 สปีด และเกียร์ธรรมดา 5 สปีด) เป็นรุ่นต่ำสุด เบาะกำมะหยี่สีเทา ภายในสีเทา เครื่องปรับอากาศธรรมดา วิทยุเทป 4 ลำโพง เป็นรุ่นประหยัดที่เพิ่มเข้ามาใน พ.ศ. 2543 ภายหลังจากย้ายฐานการผลิตเข้ามาในประเทศไทย 2.2SE.G (มีให้เลือก เกียร์อัตโนมัติ 4 สปีด เบาะกำมะหยี่, เกียร์ธรรมดา 5 สปีด เบาะกำมะหยี่ และเกียร์อัตโนมัติ 4 สปีด เบาะหนัง) เป็นเกรดบนสุด เครื่องปรับอากาศแบบอัตโนมัติ ,วิทยุพร้อมเครื่องเล่นซีดี 6 แผ่นด้านหน้า 2DIN 6 ลำโพง ,ภายในสีเบจ ,ตกแต่งลายไม้ ,เบาะคนขับและผู้โดยสารปรับไฟฟ้า 6 ทิศทาง ข้อแตกต่างของคัมรี่รุ่นไฟท้ายไม้บรรทัด ระหว่างรุ่นที่ผลิตในประเทศออสเตรเลีย กับรุ่นที่ผลิตในประเทศไทย คือ คัมรี่ออสเตรเลียที่ขายในช่วงแรก มีเฉพาะรุ่น 2.2SE.G เท่านั้น แต่จะเป็น 2.2SE.G ที่ภายในสีเทา ไม่มีลายไม้ ล้ออัลลอยก้านตรง เบาะปรับมือ ในขณะที่ 2.2SE.G รุ่นประเทศไทย จะได้ภายในสีครีม ตกแต่งลายไม้ ล้ออัลลอยก้านเฉียง เบาะปรับไฟฟ้า ทุกรุ่นมีระบบเบรกป้องกันล้อล็อกและถุงลมนิภัยคู่หน้าเป็นอุปกรณ์มาตรฐาน และหลังการปรับโฉมเป็นรุ่นไฟท้ายย้อย ได้เพิ่มไฟตัดหมอกในทุกรุ่น และตัดรุ่น 2.2SE.G เกียร์ธรรมดาออกจากสายการผลิต

slot