โตโยต้า พริอุส รุ่นที่ 4 ได้เปิดตัวครั้งแรกในเดือนกันยายน พ.ศ. 2558 ที่เมืองลาสเวกัส ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยจำหน่ายครั้งแรกที่ประเทศญี่ปุ่นในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2558 ตามด้วยประเทศสหรัฐอเมริกาในเดือนมกราคม พ.ศ. 2559 และเดือนกุมภาพันธ์ในยุโรป โดยโตโยต้าคาดหวังไว้ว่าจะขายโตโยต้า พริอุส รุ่นที่ 4 นี้ได้ 12,000 คันต่อเดือนและ 300,000 ถึง 350,000 คันต่อปีในประเทศญี่ปุ่น โตโยต้า พริอุส รุ่นที่ 4 ถูกพัฒนาขึ้นบนแพลทฟอร์มใหม่ที่มีชื่อว่า Toyota New Global Architecture (TNGA) ซึ่งออกแบบให้มีจุดศุนย์ถ่วงต่ำลงกว่าเดิมและทำให้โครงสร้างของรถแข็งแกร่งขึ้น พร้อมทั้งปรับปรุงช่วงล่างใหม่ ทำให้โตโยต้า พริอุส รุ่นนี้มีการขับขี่ที่คล่องตัวมากขึ้น ส่วนภายนอกนั้นมีการออกแบบใหม่เพื่อปรับปรุงหลักอากาศพลศาสตร์ให้ดียิ่งขึ้น รวมถึงการทำการตกแต่งภายในให้มีพื้นที่กว้างขวางมากขึ้น โดยตัวถังภายนอกมีความยาวเพิ่มขึ้น 61 มิลลิเมตร กว้างขึ้น 15 มิลลิเมตร ขณะที่ความสูงลดลง 20 มิลลิเมตร เมื่อเทียบกับโฉมที่ 3ประเทศฟินแลนด์ (ฟินแลนด์: Suomi suo̯mi ซูโวมี; สวีเดน: Finland ˈfɪnland ฟินลันด์) มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐฟินแลนด์ (ฟินแลนด์: Suomen tasavalta; สวีเดน: Republiken Finland) เป็นประเทศในกลุ่มนอร์ดิก ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของทวีปยุโรป เขตแดนด้านตะวันตกเฉียงใต้จรดทะเลบอลติก ทางด้านใต้จรดอ่าวฟินแลนด์ ทางตะวันตกจรดอ่าวบอทเนีย ประเทศฟินแลนด์มีชายแดนติดกับประเทศสวีเดน นอร์เวย์ และรัสเซีย สำหรับหมู่เกาะโอลันด์ที่อยู่ห่างจากชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้นั้น อยู่ภายใต้การปกครองของฟินแลนด์ แต่เป็นเขตปกครองตนเอง เคยถูกรัสเซียยึดครองและเป็นดินแดนส่วนหนึ่งของรัสเซีย เมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุด คือ เฮลซิงกิ เมืองสำคัญอื่น ๆ ได้แก่ เอสโป วันตา ตัมเปเร โอวลุ และตุรกุ
พ.ศ. 2352 ในช่วงสงครามระหว่างสวีเดนและรัสเซีย กองทัพของจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่ 1 ก็สามารถยึดดินแดนฟินแลนด์ได้อีกครั้ง ฟินแลนด์ดำรงสถานะเป็นดินแดนปกครองตนเอง ราชรัฐฟินแลนด์ ภายใต้จักรวรรดิรัสเซีย จนกระทั่งถึงการประกาศเอกราชในปี พ.ศ. 2460 ในยุคของราชรัฐฟินแลนด์ ภาษาฟินแลนด์ได้รับความสำคัญมากขึ้นในฟินแลนด์ อันเป็นผลมาจากความเคลื่อนไหวของขบวนการชาตินิยม จนกระทั่งได้รับสถานะเดียวกับภาษาสวีเดนใน พ.ศ. 2435 ต่อมาในปี พ.ศ. 2449 ฟินแลนด์เริ่มมีการให้สิทธิเลือกตั้งอย่างเท่าเทียม (ผู้ใหญ่ทุกคนมีสิทธิกันเท่าเทียมกันโดยไม่คำนึงถึงเชื้อชาติ เพศ หรือสถานะทางสังคม) โดยฟินแลนด์เป็นชาติแรกในโลก ที่ให้สิทธิทั้งการเลือกตั้งและการลงเลือกตั้งแก่สตรี หลังจากการปฏิวัติบอลเชวิกในรัสเซียประสบความสำเร็จ รัฐสภาของฟินแลนด์ลงมติเห็นชอบในเรื่องการประกาศเอกราชของฟินแลนด์ ในวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2460 และรัฐบาลบอลเชวิกรัสเซีย ยอมรับการประกาศเอกราชในเกือบหนึ่งเดือนถัดมา ซึ่งเยอรมนีและชาติสแกนดิเนเวียอื่น ๆ ก็ยอมรับการประกาศเอกราชตามมาในทันที หลังจากการประกาศเอกราช ฟินแลนด์ก็ตกอยู่ในสภาวะสงครามกลางเมือง โดยเกิดการต่อสู้ระหว่างฝ่าย”ขาว” ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากจักรวรรดิเยอรมนี และฝ่าย”แดง” ที่ได้รับการสนับสนุนจากรัสเซียบอลเชวิก ฝ่ายขาวนั้นประกอบไปด้วยกลุ่มคนที่มีฐานะค่อนข้างดี มีความเห็นทางการเมืองค่อนไปทางขวา ในขณะที่ฝ่ายแดงส่วนใหญ่ ซึ่งค่อนข้างจะเป็นฝ่ายซ้ายจะเป็นกลุ่มแรงงาน ฝ่ายขาวชนะสงครามนี้ในเวลาต่อมา ก่อตั้งสาธารณรัฐฟินแลนด์เป็นผลสำเร็จ
หลังจากสงครามกลางเมืองสิ้นสุดลง รัฐสภาของฟินแลนด์ ซึ่งไม่มีสมาชิกของพรรคสังคมประชาธิปไตยซึ่งสนับสนุนสาธารณรัฐอยู่เลย ได้ประกาศตั้งราชอาณาจักรฟินแลนด์ขึ้น โดยเลือกเจ้าชายเฟเดอริก ชาลส์ แห่งแฮสส์ของเยอรมนี ขึ้นเป็นกษัตริย์พระองค์แรกของฟินแลนด์ แต่เมื่อเยอรมนีแพ้สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ความคิดนี้จึงต้องยกเลิกไป และฟินแลนด์ก็ประกาศเป็นสาธารณรัฐ โดยมีคาร์โล ยุโฮ สโตห์ลเบิร์ก เป็นประธานาธิบดีคนแรก[8]ฟินแลนด์มีประชากร 5.52 ล้านคน (ข้อมูล ณ กลางปี พ.ศ. 2562) ประชากรส่วนมากอาศัยอยู่ในตอนกลางและตอนใต้ของประเทศ และพูดภาษาฟินแลนด์ ซึ่งเป็นกลุ่มภาษาฟินนิกจากตระกูลภาษายูรัล และไม่มีความสัมพันธ์กับภาษาสแกนดิเนเวียแต่อย่างใด ประเทศฟินแลนด์เป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดอันดับที่ 8 ของทวีปยุโรป และเป็นประเทศที่มีประชากรเบาบางที่สุดในสหภาพยุโรป ประเทศฟินแลนด์เป็นสาธารณรัฐในระบบรัฐสภาที่ประกอบด้วย 311 เทศบาล และ 1 เขตปกครองตนเอง คือ หมู่เกาะโอลันด์ มีประชากรมากกว่า 1.4 ล้านคนอาศัยอยู่ในปริมณฑลเกรเทอร์เฮลซิงกิ และคิดเป็น 1 ใน 3 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ประเทศฟินแลนด์มีดัชนีการพัฒนามนุษย์ตามสถิติของสหประชาชาติ พ.ศ. 2549 อยู่ในลำดับที่ 11ฟินแลนด์เคยเป็นส่วนหนึ่งของสวีเดนหลายศตวรรษ หลังจากนั้นก็อยู่ภายใต้จักรวรรดิรัสเซียจนถึงปี พ.ศ. 2460 ปัจจุบันฟินแลนด์เป็นสาธารณรัฐประชาธิปไตย ภาษาฟินแลนด์เป็นหนึ่งในภาษาทางการไม่กี่ภาษาของสหภาพยุโรป ที่ไม่ได้มีต้นกำเนิดเป็นกลุ่มภาษาอินโด-ยูโรเปียน ร่วมกับภาษาเอสโตเนีย ภาษาฮังการี และภาษามอลตา ตั้งแต่ประมาณ 2,700 ปีก่อนพุทธกาล ดินแดนฟินแลนด์ได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากทางใต้ของอ่าวฟินแลนด์ โดยเข้ามาทางตะวันตกเฉียงใต้ของฟินแลนด์ มีหลักฐานของเครื่องปั้นดินเผาที่มีลักษณะเฉพาะ ต่อมาในยุคสำริด พื้นที่ทางชายฝั่งของฟินแลนด์ได้รับอิทธิพลจากสแกนดิเนเวียและยุโรปกลาง ในขณะที่พื้นที่ที่อยู่ห่างจากทะเลเข้าไป ได้รับอิทธิพลการใช้สำริดมาจากทางตะวันออกมากกว่า
รุ่นที่ 4 ออบแบบใหม่ทั้งคัน แม้แต่ไฟท้ายก็เปลี่ยนเป็นแนวเฉียง และนอกจากนี้ ในค.ศ. 2006 โตโยต้าได้สั่งให้นำเล็กซัส แอลเอส ไปเน้นการทำตลาดที่อเมริกา แล้วยกเลิกการผลิตเล็กซัส แอลเอส ในญี่ปุ่นลงทั้งหมด (ทั้งๆ ที่มีเสียงคัดค้านจากหลายวงการ แต่โตโยต้าก็จำเป็นต้องทำ) จึงไม่มีการขัดขากันเองอีกต่อไป คราวน์ มาเจสตารุ่นนี้ มีการติดตั้งกล้องส่องด้านหลังสำหรับการถอยจอด เปลี่ยนไปใช้เครื่องยนต์แบบ 3UZ-FE 4,300ซีซี 8สูบ 345แรงม้า และเปลี่ยนไปใช้เกียร์แบบอัตโนมัติ 6 สปีด ส่วนราคาก็ประมาณ 69,400 ดอลลาร์สหรัฐ เทียบเท่า 70,000 – 80,000 ดอลลาร์สหรัฐในปัจจุบัน)ฮิการิ เป็นขบวนรถไฟความเร็วสูงในประเทศญี่ปุ่น ให้บริการในเส้นทางโทไกโดชิงกันเซ็งและซันโยชิงกันเซ็ง รถไฟประเภทนี้วิ่งช้ากว่าขบวนโนโซมิ แต่ยังเร็วกว่าขบวนโคดามะ หากใช้สิทธิ์ตามบัตรผ่านรถไฟญี่ปุ่น ขบวนฮิการินี้จะเป็นรถไฟประเภทที่เร็วที่สุดที่ให้บริการบนเส้นทางโทไกโดและซันโยชิงกันเซ็ง เมื่อชิงกันเซ็งเปิดให้บริการในปี 1964 ฮิการิได้เป็นรถไฟที่เร็วที่สุดบนเส้นทางที่วิ่งจากโตเกียวไปยังสถานีชินโอซะกะ มีการหยุดรถเพียงแค่สองครั้งเท่านั้นคือที่นาโงยาและที่เกียวโต ต่อมา ฮิการิได้ขยายไปให้บริการบนซันโยชิงกันเซ็งแม้ว่ารถไฟฮิการิจะเร็วกว่าเพียงขบวนโคดามะเท่านั้น ทั้งคู่จึงได้รับฉายาสั้นๆร่วมกันว่า “ฮิดะมะ”
บริษัทรถไฟญี่ปุ่นตอนกลางเป็นผู้ให้บริการฮิการิ ปัจจุบันนี้ใช้รถไฟขนาด 16 โบกี้ หลายซีรีส์ได้แก่ 700 ซีรีส์ และ 300 ซีรีส์ รถไฟฮิการิส่วนใหญ่จะหยุดตามสถานีต่างเช่น ชิซุโอะกะ, ไมบาระ หรือฮิเมะจิ เพื่อให้รถไฟที่เร็วกว่า เช่น ขบวนโนโซมิ วิ่งผ่านไปด้วยความเร็วสูงสุดก่อนในเดือนมีนาคม ปี 2008 ขบวนฮิการิได้นำชิงกันเซ็ง N700 ซีรีส์ มาใช้สำหรับการเดินทางระหว่างสถานีชินโยโกะฮะมะและสถานีฮิโระชิมะ และสำหรับรถไฟเที่ยวดึกระหว่างสถานีโตเกียวและนาโงยา บริษัทรถไฟญี่ปุ่นตะวันตกเริ่มให้บริการฮิการิ เรล สตาร์ (Hikari Rail Star) ในปี 200 ซีรีส์0 โดยมีเฉพาะเส้นทางซันโยชิงกันเซ็งเท่านั้น โดยใช้รถไฟขบวนพิเศษขนาด 8 โบกี้ซีรีส์ 700 ซีรีส์ ที่มีความเร็วสูงสุด 285 กิโลเมตรต่อชั่วโมง การที่บริษัทรถไฟญี่ปุ่นตะวันตกนำมาให้บริการนี้เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันกับสายการบินที่บินอยู่ในเส้นทางโอซะกะไปยังฟุกุโอะกะ ที่นั่งที่สำรองเอาไว้บนรถไฟฮิการิ เรล สตาร์มีการจัดแบบ 2-2 แทนที่จะเป็น 3-2 เหมือนฮิการิทั่วๆไป และด้านหน้าของแต่ละที่นั่งนั้นจะมีจุดจ่ายไฟฟ้าสำหรับผู้ใช้คอมพิวเตอร์แบบพกพาอีกด้วย