โตโยต้า ฟอร์จูนเนอร์ (อังกฤษ: Toyota Fortuner) เป็นรถยนต์อเนกประสงค์สมรรถนะสูงขนาดกลาง (Mid-size SUV) ของโตโยต้า โดยเริ่มผลิตครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2547 ในประเทศไทย ซึ่งใช้โครงสร้างเดียวกันกับ โตโยต้า ไฮลักซ์ วีโก้ หรือ โตโยต้า ไฮลักซ์ รีโว่และโตโยต้า อินโนวาในปัจจุบัน
ฟอร์จูนเนอร์เป็นรถรุ่นที่ใกล้เคียงกับ อีซูซุ มิว-เซเว่น, มิตซูบิชิ ปาเจโร สปอร์ต และ ฟอร์ด เอเวอเรสต์ ซึ่งเป็นรถเอสยูวีที่ใช้โครงสร้างเดียวกันกับรถกระบะ (อีซูซุ ดีแมคซ์, มิตซูบิชิ ไทรทัน และ ฟอร์ด เรนเจอร์ ตามลำดับ) หรือ พีพีวี เช่นเดียวกัน นอกจากนี้รถรุ่นนี้ยังเป็นคู่แข่งขันทางการค้ากับรถเอสยูวีรุ่นอื่น ที่ไม่เข้าข่ายพีพีวี แต่มีระดับราคาใกล้เคียงกัน เช่น ฮอนด้า ซีอาร์วี, เชฟโรเลต แคปติวา,นิสสัน เอ็กซ์ เทรลเป็นต้น อีกด้วย ในบางประเทศขายในชื่อ Toyota SW4 ซึ่งไม่มีขายในญี่ปุ่น อเมริกาและยุโรป แต่เน้นขายในอาเซียนเป็นหลัก พ.ศ. 2352 ในช่วงสงครามระหว่างสวีเดนและรัสเซีย กองทัพของจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่ 1 ก็สามารถยึดดินแดนฟินแลนด์ได้อีกครั้ง ฟินแลนด์ดำรงสถานะเป็นดินแดนปกครองตนเอง ราชรัฐฟินแลนด์ ภายใต้จักรวรรดิรัสเซีย จนกระทั่งถึงการประกาศเอกราชในปี พ.ศ. 2460 ในยุคของราชรัฐฟินแลนด์ ภาษาฟินแลนด์ได้รับความสำคัญมากขึ้นในฟินแลนด์ อันเป็นผลมาจากความเคลื่อนไหวของขบวนการชาตินิยม จนกระทั่งได้รับสถานะเดียวกับภาษาสวีเดนใน พ.ศ. 2435 ต่อมาในปี พ.ศ. 2449 ฟินแลนด์เริ่มมีการให้สิทธิเลือกตั้งอย่างเท่าเทียม (ผู้ใหญ่ทุกคนมีสิทธิกันเท่าเทียมกันโดยไม่คำนึงถึงเชื้อชาติ เพศ หรือสถานะทางสังคม) โดยฟินแลนด์เป็นชาติแรกในโลก ที่ให้สิทธิทั้งการเลือกตั้งและการลงเลือกตั้งแก่สตรี
หลังจากการปฏิวัติบอลเชวิกในรัสเซียประสบความสำเร็จ รัฐสภาของฟินแลนด์ลงมติเห็นชอบในเรื่องการประกาศเอกราชของฟินแลนด์ ในวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2460 และรัฐบาลบอลเชวิกรัสเซีย ยอมรับการประกาศเอกราชในเกือบหนึ่งเดือนถัดมา ซึ่งเยอรมนีและชาติสแกนดิเนเวียอื่น ๆ ก็ยอมรับการประกาศเอกราชตามมาในทันที หลังจากการประกาศเอกราช ฟินแลนด์ก็ตกอยู่ในสภาวะสงครามกลางเมือง โดยเกิดการต่อสู้ระหว่างฝ่าย”ขาว” ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากจักรวรรดิเยอรมนี และฝ่าย”แดง” ที่ได้รับการสนับสนุนจากรัสเซียบอลเชวิก ฝ่ายขาวนั้นประกอบไปด้วยกลุ่มคนที่มีฐานะค่อนข้างดี มีความเห็นทางการเมืองค่อนไปทางขวา ในขณะที่ฝ่ายแดงส่วนใหญ่ ซึ่งค่อนข้างจะเป็นฝ่ายซ้ายจะเป็นกลุ่มแรงงาน ฝ่ายขาวชนะสงครามนี้ในเวลาต่อมา ก่อตั้งสาธารณรัฐฟินแลนด์เป็นผลสำเร็จ
หลังจากสงครามกลางเมืองสิ้นสุดลง รัฐสภาของฟินแลนด์ ซึ่งไม่มีสมาชิกของพรรคสังคมประชาธิปไตยซึ่งสนับสนุนสาธารณรัฐอยู่เลย ได้ประกาศตั้งราชอาณาจักรฟินแลนด์ขึ้น โดยเลือกเจ้าชายเฟเดอริก ชาลส์ แห่งแฮสส์ของเยอรมนี ขึ้นเป็นกษัตริย์พระองค์แรกของฟินแลนด์ แต่เมื่อเยอรมนีแพ้สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ความคิดนี้จึงต้องยกเลิกไป และฟินแลนด์ก็ประกาศเป็นสาธารณรัฐ โดยมีคาร์โล ยุโฮ สโตห์ลเบิร์ก เป็นประธานาธิบดีคนแรก เชื่อกันว่าจุดเริ่มต้นของความเกี่ยวพันระหว่างสวีเดนกับฟินแลนด์เริ่มต้นในปี พ.ศ. 1698[10] ในสงครามเผยแผ่คริสต์ศาสนา ปลายพุทธศตวรรษที่ 18 เริ่มมีการตั้งเมืองขึ้นในทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศที่โอบู (Åbo) หรือตุรกุ(Turku) โดยตุรกุเป็นหนึ่งในเมืองที่ใหญ่ที่สุดของราชอาณาจักรสวีเดนในยุคนั้น ในช่วงศตวรรษนี้ มีชาวสวีเดนจำนวนมากที่เข้ามาตั้งรกรากบริเวณชายฝั่งทางใต้และตะวันตกเฉียงเหนือ บนหมู่เกาะโอลันด์ และหมู่เกาะอื่น ๆ ใกล้เคียง ซึ่งทำให้ภาษาสวีเดนยังคงเป็นภาษาหลักของภูมิภาคนี้มาจนถึงปัจจุบัน นอกจากนี้ ภาษาสวีเดนได้กลายมาเป็นภาษาของชนชั้นสูงในภาคอื่น ๆ ของฟินแลนด์ในยุคนั้นด้วย พ.ศ. 2093 กษัตริย์ของสวีเดน สมเด็จพระราชาธิบดีกุสตาฟที่ 1 ได้ทรงก่อตั้งเมืองเฮลซิงกิขึ้นในชื่อ “เฮลซิงฟอร์ส” (Helsingfors)[11] แต่เมืองนี้คงสภาพเป็นเพียงหมู่บ้านชาวประมงกว่าสองร้อยปี ชื่อเฮลซิงฟอร์สยังคงเป็นชื่อเมืองเฮลซิงกิในภาษาสวีเดนในปัจจุบัน
ดินแดนฟินแลนด์ถูกยึดครองโดยรัสเซียสองครั้งในพุทธศตวรรษที่ 23ฟินแลนด์ปกครองในระบอบสาธารณรัฐ โดยใช้ระบอบประชาธิปไตยแบบตัวแทน มีรัฐสภา และใช้ระบอบกึ่งประธานาธิบดี ประมุขของประเทศคือประธานาธิบดีมีหน้าที่รับผิดชอบในเรื่องของนโยบายต่างประเทศ อำนาจบริหารส่วนใหญ่จะอยู่ที่คณะรัฐมนตรี นำโดยนายกรัฐมนตรี รัฐธรรมนูญของประเทศฟินแลนด์ ฉบับแรกมีใช้เมื่อ พ.ศ. 2462 ไม่นานหลังจากประกาศอิสรภาพจากรัสเซีย และไม่มีการแก้ไขรัฐธรรมนูญตลอด 50 ปีแรกของการใช้รัฐธรรมนูญ การปฏิรูปรัฐธรรมนูญครั้งสำคัญเริ่มในปี พ.ศ. 2526 หลังจากนั้นก็มีการเปลี่ยนแปลงหลายครั้ง รวมถึงการเริ่มใช้ระบบเลือกตั้งประธาธิบดีโดยตรงพ.ศ. 2538 ฟินแลนด์เริ่มตั้งคณะทำงานรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2543 เพื่อศึกษาการปรับปรุงรัฐธรรมนูญ และต่อมาก็ตั้งคณะกรรมการรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2543 เพื่อร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ คณะกรรมการเสร็จสิ้นการทำงานในปี พ.ศ. 2541 ในรูปของร่างรัฐธรรมนูญ หลังจากนั้น คณะกรรมการกฎหมายรัฐธรรมนูญก็ทำการพิจารณาร่าง รัฐธรรมนูญฉบับนี้ผ่านการเห็นชอบจากรัฐสภาในผ่านการอนุมัติจากประธานาธิบดีของสาธารณรัฐ ในปี พ.ศ. 2542 เริ่มมีผลบังคับใช้วันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2543 และยังคงใช้มาจนถึงปัจจุบัน ในฟินแลนด์ไม่มีศาลรัฐธรรมนูญและฝ่ายตุลาการไม่มีอำนาจในการประกาศว่ากฎหมายใดขัดรัฐธรรมนูญ อำนาจในการตีความว่ากฎหมายนั้นสอดคล้องกับรัฐธรรมนูญหรือไม่อยู่ในฝ่ายนิติบัญญัติหรือรัฐสภาเท่านั้น
อำนาจบริหารของฟินแลนด์อยู่ที่ประธานาธิบดี ซึ่งเป็นประมุขของประเทศ ประธานาธิบดีได้รับเลือกโดยตรง ดำรงตำแหน่งเป็นเวลา 6 ปี มีหน้าที่รับผิดชอบนโยบายต่างประเทศ รับรองกฎหมาย แต่งตั้งนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีอื่นๆอย่างเป็นทางการ และดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการกองกำลังของฟินแลนด์ด้วย อย่างไรก็ตาม กิจการภายในสหภาพยุโรปไม่รวมอยู่ในอำนาจหน้าที่ของประธานาธิบดี แต่เป็นของคณะรัฐมนตรี ผู้ที่ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีนั้น จะต้องเป็นชาวฟินแลนด์โดยกำเนิด ในปัจจุบัน ประธานาธิบดีไม่สามารถดำรงตำแหน่งมากกว่าสองสมัย[18] ประธานาธิบดีคนปัจจุบันคือเซาลี นีนิสเตอ เริ่มดำรงตำแหน่งในปี พ.ศ.2555 ในคณะรัฐมนตรีจะมีตำแหน่งผู้ตรวจการ (ฟินแลนด์: Oikeuskansleri; สวีเดน: Justitiekanslern) ทำหน้าที่ตรวจสอบการใช้อำนาจของรัฐ เช่น ประธานาธิบดี คณะรัฐมนตรี รวมถึงเจ้าหน้าที่รัฐการทั่วไป ผู้ตรวจการจะเข้าร่วมการประชุมคณะรัฐมนตรีในฐานะสมาชิกที่ไม่มีสิทธิออกเสียง ตำแหน่งนี้และผู้ช่วยแต่งตั้งโดยประธานาธิบดี