เซลิก้า คัมรี่ กำเนิดรถตระกูลคัมรี่

ในรุ่นปี พ.ศ. 2523 ตระกูลเซลิก้า ได้มีการผลิตรถเซลิก้ารุ่นพิเศษ เป็นรถเซลิก้า ที่นั่งสองตอน ตัวถัง Sedan ซึ่งเป็นการผสมผสานเทคโนโลยีรถสปอร์ตเข้ากับรถเก๋งทั่วไป โดยเป็นการผสมเทคโนโลยีระหว่างรถสามตระกูล โดยรับจากตระกูลเซลิก้าเป็นส่วนใหญ่ และรับจากตระกูลโคโรน่า กับตระกูลคาริน่าอีกจำนวนหนึ่ง รถเซลิก้ารุ่นพิเศษ มีชื่อว่ารุ่น “เซลิก้า คัมรี่” รถรุ่นเซลิก้า คัมรี่ มีความใกล้เคียงกับรถรุ่นเซลิก้าธรรมดา แต่การที่ผสมผสานเทคโนโลยีสปอร์ตเข้ากับรถเก๋งทั่วๆไป ทำให้รุ่นเซลิก้า คัมรี่ มียอดขายสูงขึ้นเรื่อยๆ จนกระทั่งรุ่นปี พ.ศ. 2525 รถเซลิก้า คัมรี่ มียอดขายสูงแซงรถรุ่นเซลิก้าธรรมดา และในบางประเทศ รถรุ่นเซลิก้า คัมรี่ เข้ามาครองตลาดแทนรถรุ่นเซลิก้าธรรมดา ทำให้โตโยต้า ค่อนข้างมั่นใจว่า “คัมรี่” สามารถยืนหยัดได้โดยไม่ต้องแอบอิงชื่อตระกูลเซลิก้า และ”คัมรี่” สามารถเป็นรถตระกูลใหม่ของโตโยต้าได้ ดังนั้น โตโยต้าจึงตั้งคัมรี่เป็นรถตระกูลใหม่ และให้เริ่มผลิตได้ทันที หลังจากในช่วงแรกประสบความสำเร็จ จึงพร้อมที่จะต่อขยายเส้นทางเดินรถไฟออกไปทางตะวันตก โดยมีจุดหมายไปยังฮิโระชิมะและฟุกุโอะกะ (ซันโยชิงกันเซ็ง) จนแล้วเสร็จในปี 1975

jumbo jili

คาคุเออิ ทานากะ อดีตนายกรัฐมนตรีญี่ปุ่นได้ให้การสนับสนุนอย่างมาก รัฐบาลชุดนี้ตั้งเป้าว่าจะต่อขยายรางรถไฟที่มีอยู่ให้กลายเป็นรางรถไฟรางคู่ขนานครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศ เส้นทางใหม่ 2 แห่งแรกคือ โทโฮกุ ชิงกันเซ็ง และโจเอสึ ชิงกันเซ็ง ทั้งสองเส้นทางนี้สร้างขึ้นตามแผนการของรัฐบาลชุดนี้ หลังจากนั้นแผนการต่อขยายในเส้นทางอื่น ๆ ก็ถูกระงับชั่วคราวหรือถูกยกเลิกไปทั้งหมดขณะที่กิจการรถไฟแห่งชาติเริ่มเข้าสู่ภาวะเป็นหนี้มหาศาลเนื่องจากค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างเครือข่ายชิงกันเซ็งทั่วประเทศนั้นเป็นตัวเลขที่สูงมากทีเดียว ในราวทศวรรษที่ 1980 การรถไฟญี่ปุ่นอยู่ในภาวะเกือบจะล้มละลาย จนนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงเป็นหน่วยงานเอกชนในที่สุด เมื่อปี 1987อย่างไรก็ตาม โครงการพัฒนารถไฟชิงกันเซ็งก็ได้ดำเนินการมาโดยตลอด มีต้นแบบรถที่มีลักษณะเฉพาะของแต่ละรุ่นออกมาเสมอ ตอนนี้ รถไฟชิงกันเซ็งสามารถทำความเร็วได้ถึง 300 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ก้าวขึ้นมาเทียบเท่ารถไฟความเร็วสูงระดับโลกไม่ว่าจะเป็น TGV ของฝรั่งเศส, TAV ของอิตาลี, AVE ของอิตาลี และ ICE ของเยอรมนี

สล็อต

นอกจากนั้น ตั้งแต่ปี 1970 ญี่ปุ่นยังได้พัฒนาชุโอะ ชิงกันเซ็ง ซึ่งเป็นรถไฟพลังแม่เหล็ก (แม็กเลฟ) ที่พัฒนามาจากรถไฟความเร็วสูงพลังแม่เหล็ก (Maglev) ของเยอรมนี โดยกำหนดว่าจะวิ่งจากโตเกียวไปยังโอซากะ ในวันที่ 2 ธันวาคม ค.ศ. 2003 รถไฟพลังแม่เหล็กขนาดสามตู้รถไฟ ชื่อ JR-Maglev MLX01 สถิติด้านความปลอดภัย ระหว่างการใช้งานกว่า 40 ปีเต็ม จำนวนยอดผู้โดยสารกว่า 6 ล้านคนมาแล้ว ชิงกันเซ็งก็ไม่เคยมีประวัติว่ามีผู้โดยสารเสียชีวิตเนื่องจากรถไฟตกรางหรือรถไฟชนกัน(รวมไปถึงอุบัติเหตุแผ่นดินไหวและพายุไต้ฝุ่น) มีเพียงการบาดเจ็บและการเสียชีวิตจากประตูรถไฟงับผู้โดยสารหรือสัมภาระของผู้โดยสารเท่านั้น เนื่องจากมีเจ้าหน้าที่ดูแลความปลอดภัยอยู่เป็นจำนวนมากที่สถานีเพื่อป้องกันการเกิดเหตุร้ายขึ้น อย่างไรก็ตาม ก็เคยมีประวัติผู้โดยสารฆ่าตัวตายด้วยการกระโดดลงไปในรางขณะที่รถไฟกำลังเทียบชานชาลาหรือกระโดดออกจากรถไฟก่อนที่รถไฟจะจอด

สล็อตออนไลน์

ชิงกันเซ็งช่วงที่กำลังรับส่งผู้โดยสารนั้นเคยตกรางเพียงครั้งเดียวเท่านั้น ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อเกิดแผ่นดินไหวในชูเอะสึ เมื่อวันที่ 23 ตุลาคม ค.ศ. 2004 ตอนโดยสารจำนวน 8 ตอนจากทั้งหมด 10 ตอนของรถไฟหมายเลข 325 สาย โจเอ็ทสุ ชิงกันเซ็ง ตกรางใกล้ ๆ กับสถานีนะงะโอะกะ ในเมืองนะงะโอะกะ จังหวัดนีงาตะ แต่ผู้โดยสารทั้ง 154 คนไม่มีผู้ใดได้รับบาดเจ็บหรือเสียชีวิตแต่อย่างใด ในช่วงที่เกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหวนั้น ระบบตรวจจับแผ่นดินไหวสามารถสั่งการให้รถไฟหยุดได้อย่างรวดเร็วปัญหาอย่างหนึ่งของชิงกันเซ็งคือ ยิ่งเพิ่มความเร็วมากเท่าไหร่ก็ยิ่งทำให้มีมลพิษทางเสียงมากขึ้นและแก้ไขได้ยากขึ้นอีกด้วย การศึกษาวิจัยในปัจจุบันจึงมุ่งเน้นในเรื่องการลดเสียงดังที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เสียงที่เกิดขึ้นในอุโมงค์ หรือ tunnel boom อันเกิดจากการที่รถไฟวิ่งออกจากอุโมงค์ด้วยความเร็วสูง

jumboslot

บริษัทรถไฟญี่ปุ่นตะวันออกได้ประกาศว่ารถไฟขบวนใหม่สามารถวิ่งได้ด้วยความเร็วถึง 320 กิโลเมตรต่อชั่วโมง และจะนำมาใช้ในการเปิดตัวโทโฮกุชิงกันเซ็ง ซึ่งเป็นส่วนต่อขยายจากฮะชิโนะเฮะไปยังอาโอโมริในช่วงต้นปี 2011 แต่จากการทดลองวิ่งรถไฟ Fastech 360 พบว่า ที่ความเร็ว 360 กิโลเมตรต่อชั่วโมงนั้นยังมีปัญหาอยู่ที่มลพิษทางเสียง สายส่งเหนือรถไฟ และระยะหยุดรถ ซึ่งอาจจะเป็นข้อจำกัดของการเทคโนโลยีชิงกันเซ็งในปัจจุบันก็ว่าได้ ในที่สุด ก็มีการนำเอาเทคโนโลยีรถไฟพลังแม่เหล็กหรือเทคโนโลยีอื่นมาทดแทน หากสามารถวิ่งได้ด้วยความเร็ว 320 กิโลเมตรต่อชั่วโมงจากอุตสึโนะมิยะไปยังอาโอโมริแล้วก็จะทำให้สามารถเดินทางจากโตเกียวไปยังอาโอโมริได้โดยใช้เวลาประมาณ 3 ชั่วโมงเท่านั้น (ระยะทางประมาณ 675 กิโลเมตรหรือ 419 ไมล์) นอกจากนั้น ผู้บริหารของการรถไฟแห่งญี่ปุ่นสายกลางก็ได้ประกาศแผนการที่จะสร้างรถไฟพลังแม่เหล็ก ชูโอะ ชิงกันเซ็ง ให้สามารถเดินทางจากโตเกียวไปยังนาโกย่าภายในเวลาไม่ถึง 1 ชั่วโมงให้ได้ (ระยะทางประมาณ 366 กิโลเมตรต่อชั่วโมง)

slot